กลุ่มงานมาตรฐานวิชาการ
มหาวิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก
News
กลุ่มงานมาตรฐานวิชาการ
กลุ่มงานมาตรฐานวิชาการได้ก่อตั้งมาในปีการศึกษา 2561 โดยการรวมกันของ 3 หน่วยงาน ซึ่งประกอบด้วย สำนักวิชาการ สำนักประกันคุณภาพการศึกษา สำนักสหกิจศึกษา ทั้งนี้เพื่อให้เกิดความเข้มแข็งและยกระดับมาตรฐานทางวิชาการของวิทยาลัยให้มีศักยภาพ มีคุณภาพ โดยกลุ่มงานมาตรฐานวิชการนี้เป็นหน่วยงานสนับสนุน รับผิดชอในงานกำกับมาตรฐานวิชาการ ของวิทยาลัยส่งเสริมสนับสนุนให้นักศึกษาก้าวสู่ความเป็นเลิศ ตามนโยบายของวิทยาลัยที่จะผลิตบัณฑิตให้เป็นนักปฏิบัติมืออาชีพ โดยมีผู้อำนวยการกลุ่มงานมาตรฐานวิชาการ เป็นผู้บริหาร กำกับ และติดตาม ซึ่งมีภารกิจประกอบด้วย 3 งานหลัก ได้แก่
- งานวิชาการ มีหน้าที่กำกับ ติดตาม สนับสนุน การจัดการเรียนการสอน การสอบ ของวิทยาลัยให้มีมาตรฐาน ประสานงานการขอเปิดดำเนินการหลักสูตรและการปรับปรุงหลักสูตรการรับรองมาตรฐานหลักสูตร ระหว่างคณะวิชากับสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ดำเนินการในการขอตำแหน่งทางวิชาการให้กับคณาจารย์ของวิทยาลัย
- งานประกันคุณภาพการศึกษา มีหน้าที่เป็นหน่วยงานกลางในการดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษาของวิทยาลัย พัฒนาระบบการประกันคุณภาพการศึกษา เป็นศูนย์กลางในการให้ความรู้ด้านประกันคุณภาพการศึกษาทั้งภายในและภายนอก รวมทั้งเป็นศูนย์ข้อมูลและเผยแพร่การประกันคุณภาพการศึกษาของวิทยาลัยให้ชุมชนและสังคมรับทราบ
- งานสหกิจศึกษา มีหน้าที่สนับสนุนให้บริการและส่งเสริม พัฒนานักศึกษา ให้มีความพร้อมที่จะเป็นบัณฑิตนักปฏิบัติมืออาชีพ โดยการจัดหางานสหกิจศึกษาที่มีคุณภาพให้เพียงพอกับความต้องการของนักศึกษา และตรงกับสาขาวิชาชีพ จัดเตรียมความพร้อมให้กับนักศึกษาในทุกด้านที่จำเป็นต่อการปฏิบัติงานในสถานประกอบการก่อนไปปฏิบัติงานสหกิจศึกษา ประสานงานการนิเทศงานสหกิจศึกษาพัฒนาอาชีพนักศึกษาที่ต่อเนื่องจากกิจกรรมสหกิจศึกษาให้สอดคล้องกับความต้องการของตลาดแรงงานทั้งในและต่างประเทศ
ปรัชญาและปณิธาน
กลุ่มงานมาตรฐานวิชาการ ยึดถือปรัชญาที่ว่า “คุณภาพและความมีมาตรฐานเท่านั้นที่จะผลิตบัณฑิตเป็นนักปฏิบัติมืออาชีพ” ดังนั้นกลุ่มงานมาตรฐานวิชาการ จึงตั้งปณิธานในการทำงานไว้ว่า จะดูแลการดำเนินงานด้านวิชาการ การประกันคุณภาพการศึกษา สหกิจศึกษา กิจกรรม โครงการ ของหน่วยงานต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องให้มีคุณภาพได้มาตรฐาน สอดคล้องกับระเบียบ คำสั่ง และนโยบายของวิทยาลัย ตลอดจนกฎ ระเบียบและแนวปฏิบัติของสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา เพื่อให้วิทยาลัยเป็นที่ยอมรับของคนทั่วไป อย่างยั่งยืน สมกับความตั้งใจของผู้ก่อตั้งวิทยาลัยที่ต้องการให้พื้นที่แห่งนี้เป็นพื้นที่ของการให้การศึกษาของคนในชุมชน และสังคมในจังหวัดสมุทรปราการ
บทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบของกลุ่มงานมาตฐานประกอบด้วย
- ประสานงานระหว่างคณะ สาขาวิชา และสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาในการเปิดดำเนินการหลักสูตร การรับรองมาตรฐานหลักสูตร การประเมินคุณภาพการจัดการศึกษา
- ประสานงานเพื่อการรับรองคุณวุฒิจากสำนักงานคณะกรรมการครู (ก.ค.)
- ส่งเสริมสนับสนุนให้คณาจารย์มีความก้าวหน้าทางวิชาการ โดยการเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการในทุกระดับ4. ประสานงานการดำเนินการสหกิจศึกษาและพัฒนานักศึกษา ให้ได้ปฏิบัติงานจริงในวิชาชีพที่ศึกษาอยู่
ข.ยุทธศาสตร์
กลุ่มงานมาตรฐานวิชาการได้จัดทำแนวปฏิบัติและแผนการดำเนินงาน ประจำปีการศึกษา 2561 โดยยึดถือแนวทางการประกันคุณภาพการศึกษาภายในของสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา และสอดคล้องกับแผนพัฒนาวิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก ซึ่งแบ่งออกเป็น 6 ยุทธศาสตร์ ดังนี้
ยุทธศาสตร์ที่ 1 การพัฒนา SBC เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้
ยุทธศาสตร์ที่ 2 การพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอน และการวิจัย เพื่อผลิตบัณฑิตนักปฏิบัติ
ยุทธศาสตร์ที่ 3 การส่งเสริมการทำงานแบบมืออาชีพ
ยุทธศาสตร์ที่ 4 การบริการวิชาการสู่ชุมชน
ยุทธศาสตร์ที่ 5 การทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมของชาติ ชุมชน และภูมิปัญญาท้องถิ่น
ยุทธศาสตร์ที่ 6 การบริหารจัดการด้วยหลักธรรมาภิบาล เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผล

ระเบียบคณะกรรมการการอุดมศึกษาว่าด้วย มาตรฐานหลักเกณฑ์และวิธีการแต่งตั้งคณาจารย์ในสถาบันอุดมศึกษาเอกชน ให้ดำรงคำแหน่งทางวิชาการ
- ระเบียบคณะกรรมการการอุดมศึกษา ว่าด้วย มาตรฐานหลักเกณฑ์และวิธีการแต่งตั้งคณาจารย์ในสถาบันอุดมศึกษาให้ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ พ.ศ. 2560
- แนวปฏิบัติเกี่ยวกับการกำหนดชื่อสาขาวิชาสำหรับการเสนอขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการและการเทียบเคียงสาขาวิชาที่เคยกำหนดไปแล้ว
- ระเบียบ กกอ. ว่าด้วยมาตรฐานหลักเกณฑ์และวิธีการแต่งตั้งคณาจารย์ในสถาบันอุดมศึกษาเอกชนให้ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2561
- ระเบียบ กกอ. เกี่ยวกับมาตรฐานหลักเกณฑ์และวิธีการแต่งตั้งคณาจารย์ให้ดำรงตำแหน่งทางวิชาการประจำสถาบันอุดมศึกษาเอกชน ฉบับที่ 5 พ.ศ.2556
- ระเบียบ กกอ. เกี่ยวกับมาตรฐานหลักเกณฑ์และวิธีการแต่งตั้งคณาจารย์ให้ดำรงตำแหน่งทางวิชาการประจำสถาบันอุดมศึกษาเอกชน ฉบับที่ 4 พ.ศ.2552
แนะแนวการศึกษา
ส่วนงานสหกิจศึกษา
นโยบายงานด้านสหกิจศึกษาวิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก
เพื่อให้การดำเนินงานด้านสหกิจศึกษาของวิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก มีความเจริญก้าวหน้าอย่างยั่งยืน สามารถพัฒนาคุณภาพและความพร้อมในการปฏิบัติงานของนักศึกษา เพื่อนำไปสู่การเป็นบัณฑิตที่มีคุณภาพอย่างสมบูรณ์ คือ มีความรู้ความเชี่ยวชาญในศาสตร์สาขาที่ศึกษา และสามารถลงมือปฏิบัติได้จริง งานด้านสหกิจศึกษา วิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก จึงได้กำหนดนโยบายการดำเนินงาน ดังนี้
1. เสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจ และความตระหนักในความสำคัญของสหกิจศึกษา ให้แก่นักศึกษา คณาจารย์ และสถานประกอบการ เพื่อสร้างทัศนคติและมุมมองที่ดีต่อสหกิจศึกษา เพื่อนำไปสู่การทำงานร่วมกันในการสร้างบัณฑิตที่มีคุณภาพ มีทักษะ และมีความพร้อมในการปฏิบัติงาน
2. ดำเนินงานเชิงรุกด้านการประชาสัมพันธ์ และการสื่อสารเพื่อเพิ่มจำนวนนักศึกษาที่ออกปฏิบัติงานสหกิจศึกษา มุ่งสู่การเป็นสถาบันสหกิจศึกษา 100%
3. มุ่งสร้างความพร้อมในการออกปฏิบัติงานสหกิจศึกษาของนักศึกษา โดยการปรับปรุงหลักสูตรการอบรมเตรียมความพร้อมก่อนปฏิบัติงานสหกิจศึกษาของนักศึกษา เน้นการพัฒนาทักษะในการปฏิบัติงานเฉพาะอาชีพ ผ่านการทำงานร่วมกันระหว่างกลุ่มงานมาตรฐานวิชาการ(สหกิจศึกาษา) อาจารย์นิเทศ นักศึกษาสหกิจศึกษา และสถานประกอบการ
4. พัฒนาประสิทธิภาพการทำงานของผู้ดูแลงานด้านสหกิจศึกษา เพื่อให้สามารถให้บริการด้านการประสานงาน และการส่งเสริม แก่นักศึกษา อาจารย์ และสถานประกอบการได้อย่างมีประสิทธิภาพ คือ “รวดเร็ว ถูกต้อง เป็นมาตรฐาน”
คณาจารย์นิเทศ

สถานประกอบการ


คู่มือสหกิจ 2563
แบบฟอร์มสำหรับนักศึกษา
- สก.นศ.-01 แบบพิจารณาคุณสมบัตินักศึกษาสหกิจ
- สก.นศ.-02 ใบสมัครงาน
- สก.นศ.-03 แบบแจ้งรายละเอียดการปฏิบัติงานสหก
- สก.นศ.-04 แบบแจ้งแผนการปฏิบัติงานสหกิจศึกษา
- สก.นศ.-05 แบบแจ้งโครงร่าง
รายงานการปฏิบัติงาน
- สก.นศ.-06 แบบบันทึกรายงานการปฏิบัติงานสหกิจ
- สก.นศ.-07 หนังสือรับรองการใช้ประโยชน์ผลงาน
- สก.นศ.-08 ใบลงเวลาการปฏิบัติงานสหกิจศึกษา
แบบฟอร์มสำหรับอาจารย์
- สก.อจ.-01 แบบนิเทศงาน ครั้งที่ 1
- สก.อจ.-02 แบบนิเทศงาน ครั้งที่ 2
- สก.อจ.-03 แบบประเมินผลการนำเสนอผลการปฏิบัติ
- สก.อจ.-04 แบบประเมินผลรายงานการปฏิบัติงานสหกิจ
- สก.อจ.-05 แบบฟอร์มสรุปผลการปฏิบัติงานโครงการ
- สก.อจ.-06 แบบฟอร์มการให้คะแนนการสัมภาษณ์
แบบฟอร์มสำหรับสถานประกอบการณ์
- สก.สป.-01 แบบประเมินผลการปฏิบัติงานสหกิจศึก
- สก.สป.-02 แบบสำรวจและเสนองานสหกิจศึกษา
- สก.สป.-03 แบบยืนยันการตอบรับนักศึกษาสหกิจศึกษา
แบบฟอร์มสำหรับ นักศึกษา
- ฝง.นศ.01 แบบพิจารณาคุณสมบัตินักศึกษาฝึกงาน
- ฝง.นศ.02 ใบสมัครงาน
- นศ. ฝง.03 แบบแจ้งข้อมูลสถานที่ปฏิบัติงานฝึกงาน
- ฝง.นศ.04 หนังสือสัญญาการเข้ารับการฝึกงาน
แบบฟอร์มสำหรับ สถานประกอบการ
- สป.ฝง.01 แบบประเมินผลการฝึกงานนักศึกษา โดยสถานประกอบการ
- สป.ฝง.02 แบบยืนยันการตอบรับนักศึกษาฝึกงาน
แบบฟอร์มสำหรับ อาจารย์
- อจ.ฝง.01 แบบประเมินผลการฝึกงานนักศึกษา โดยอาจารย์นิเทศ
- อจ.ฝง 02 แบบประเมินผลสมุ
- บันทึกการฝึกงานนักศึกษา
- อจ.ฝง 03 แบบฟอร์มสรุปผลโครงการฝึกงาน
1. ตัวอย่างเล่มรายงานการฝึกงาน
2. สมุดบันทึกการฝึกงาน
- สรุปผลการดำเนินงาน สหกิจศึกษาปีการศึกษา 2560
- สรุปผลการดำเนินงาน สหกิจศึกษาปีการศึกษา 2561
ส่วนงานวิชาการ
ขั้นตอนการพัฒนาหลักสูตรหรือปรับปรุงหลักสูตร
กรอบและแนวทางการจัดทำหลักสูตรของ สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษากระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2558 ได้กำหนดให้มีการปรับปรุงหลักสูตรทุก 5 ปี โดยขั้นตอนการพัฒนาหลักสูตรใหม่ และการปรับปรุงหลักสูตร มีขั้นตอนและรายละเอียดดังนี้
แผนการพัฒนาหรือปรับปรุงหลักสูตร
การพัฒนาหรือปรับปรุงหลักสูตรต้องเป็นไปตามแผนการพัฒนาหรือปรับปรุงหลักสูตรซึ่งบรรจุในแผนพัฒนาวิทยาลัย หากหลักสูตรใดที่ต้องการพัฒนาขึ้นมาใหม่แต่ยังไม่มีการบรรจุไว้ในแผนของวิทยาลัย คณะต้องนำเสนอต่อวิทยาลัย เพื่อบรรจุไว้ในแผนของวิทยาลัย
แต่งตั้งคณะกรรมการพัฒนาหรือปรับปรุงหลักสูตร
คณะต้องเสนอวิทยาลัยในการแต่งตั้งคณะกรรมการขึ้นมา 1 ชุด เรียกว่าคณะกรรมการพัฒนา/ปรับปรุงหลักสูตรตามมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา ซึ่งประกอบด้วยอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรอย่างน้อย2 คน ผู้ทรงคุณวุฒิหรือผู้เชี่ยวชาญในสาขาวิชานั้นๆ และเป็นบุคคลภายนอกอย่างน้อย 2 คน ผู้ใช้บัณฑิต 1 คน หากหลักสูตรใดมีองค์กรวิชาชีพให้มีผู้แทนจากองค์กรวิชาชีพรวมเป็นกรรมการอย่างน้อย 1 คนเพื่อดำเนินการพัฒนาหลักสูตร รูปแบบของการทำคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการพัฒนา/ปรับปรุง หลักสูตร แสดงในตัวอย่างคำสั่งคำแต่งตั้งเอกสารหมายเลข 1 – 3
การเขียนโครงการพัฒนาหรือปรับปรุงหลักสูตร
คณะกรรมการพัฒนา ปรับปรุงหลักสูตร ต้องจัดทำโครงการเพื่อขออนุมัติงบประมาณในการจัดทำหลักสูตรจากวิทยาลัย รายละเอียดในการจัดทำโครงการ เป็นไปตามแบบฟอร์มเสนอโครงการของวิทยาลัย หลักเกณฑ์การเบิกจ่ายการพัฒนาหรือปรับปรุงหลักสูตรตามการเบิกจ่ายงบประมาณของวิทยาลัย
การสำรวจคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์ และความต้องการเข้าศึกษาในหลักสูตร
การพัฒนาหรือปรับปรุงหลักสูตรคณะกรรมการพัฒนา/ปรับปรุงหลักสูตร จำเป็นต้องศึกษาคุณลักษณะของบัณฑิตที่พึงประสงค์ของหลักสูตร โดยการทำวิจัยเชิงสำรวจ หรือสอบถามความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิต โดยมีหัวข้อในการศึกษาสอดคล้องกับมาตรฐานผลการเรียนรู้ 5 ด้าน ดังนี้
- ด้านคุณธรรม จริยธรรม
- ด้านความรู้
- ด้านทักษะทางปัญญา
- ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
- ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และเทคโนโลยีสารสนเทศ
นอกจากนี้ควรศึกษาถึงความต้องการเข้าศึกษาต่อในหลักสูตรของผู้มีคุณสมบัติเข้าศึกษาที่หลักสูตรกำหนด ซึ่งจำเป็นอย่างยิ่งสำหรับหลักสูตรที่พัฒนาขึ้นใหม่การพิจารณาขนาดของกลุ่มตัวอย่าง หรือตอบแบบสอบถามในการทำวิจัย ควรพิจารณาทรัพยากรด้านต่างๆ เช่น งบประมาณ เวลา และควรมีระดับความเชื่อมั่นที่เชื่อถือได้
การทำแผนบริหารความเสี่ยง
คณะกรรมการพัฒนา/ปรับปรุงหลักสูตร จัดทำแผนบริหารความเสี่ยงเพื่อจะศึกษาผลกระทบที่จะเกิดขึ้นในอนาคต เพื่อเตรียมการวางแผนป้องกันความสูญเสียที่จะเกิดขึ้น เช่น จำนวนนักศึกษาไม่เป็นไปตามแผนการรับเข้าศึกษาในแต่ละปีการศึกษา ไม่เป็นที่ต้องการตลาดของแรงงานเป็นต้น
การวิพากษ์หลักสูตร
คณะกรรมการพัฒนา/ปรับปรุงหลักสูตร จัดให้มีการวิพากษ์หลักสูตรอย่างน้อย 2 ครั้งสำหรับหลักสูตรพัฒนาขึ้นใหม่ หรือ อย่างน้อย 1 ครั้ง สำหรับหลักสูตรปรับปรุง โดยควรมีผู้เข้าร่วมวิพากษ์ดังนี้
- คณะกรรมการพัฒนา/ปรับปรุงหลักสูตร
- ผู้เชี่ยวชาญหรือผู้ทรงคุณวุฒิทั้งภายในและภายนอกวิทยาลัย
- ผู้ใช้บัณฑิต
- นักศึกษาปัจจุบัน และ/หรือศิษย์เก่าของหลักสูตร
คณะกรรมการพัฒนา/ปรับปรุงหลักสูตร ต้องจัดทำรายงานการวิพากษ์หลักสูตร เพื่อใช้ประกอบในการจัดทำ มคอ.2 และใช้ข้อมูลจากการวิพากษ์ไปพิจารณาปรับปรุงหลักสูตรใหม่สมบูรณ์ต่อไป
การนำเสนอหลักสูตรต่อสภาวิชาการและสภาวิทยาลัย
การนำเสนอหลักสูตรเพื่อให้สภาวิชาการและสภาวิทยาลัยอนุมัติ จะดำเนินการได้หลังจากคณะกรรมการพัฒนา/ปรับปรุงหลักสูตร แก้ไข มคอ.2 ตามข้อเสนอแนะของคณะอนุกรรมการกลั่นกรองหลักสูตรเรียบร้อยแล้ว โดยผ่านการตรวจสอบของสำนักวิชาการ
การนำเสนอหลักสูตรต่อสภาวิชาการ และสภาวิทยาลัยใช้เวลาในการนำเสนอประมาณ 5-10 นาที คณะกรรมการพัฒนา/ปรับปรุงหลักสูตร ต้องจัดทำไฟล์นำเสนอ และส่งให้ผู้จัดการประชุมสภา (สภาวิชาการติดต่อสำนักวิชาการ สภาวิทยาลัยติดต่อสำนักงานสภาวิทยาลัย) ก่อนประชุม อย่างน้อย 2 สัปดาห์ มีรายละเอียดในการนำเสนอดังนี้
- ชื่อหลักสูตร ชื่อปริญญาและสาขาวิชา
- รายนามผู้ทรงคุณวุฒิที่ร่วมวิพากษ์หลักสูตร
- ปรัชญา และวัตถุประสงค์ของหลักสูตร
- วิเคราะห์ความสอดคล้องระหว่างวัตถุประสงค์ของหลักสูตรและมาตรฐานผลการเรียนรู้ 5 ด้าน
- โครงสร้างหลักสูตร
- รายงานผลการวิจัย/ผลการสำรวจความต้องการของผู้ใช้บัณฑิตที่มีต่อสาขาวิชา
- กรณีที่เป็นหลักสูตรปรับปรุงให้นำเสนอข้อเปรียบเทียบระหว่างหลักสูตรเดิม และหลักสูตรปรับปรุง
หลักเกณฑ์มาตราฐาน
- ระเบียบหลักเกณฑ์การขอตำแหน่งวิชาการในสถาบันอุดมศึกษาเอกชน พ.ศ. 2560
- เกณฑ์กำหนดชื่อปริญญา 59
- เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา
- เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับปริญญาตรี
- เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับปริญญาตรี ระดับบัณฑิตศึกษา แนวทางการบริหารเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับอุดมศึกษาพศ.2558
- เกณฑ์การเข้าสู่ตำแน่งวิชาการ
การบริหารความเสี่ยง
แบบฟอร์มต่างๆ
การสอบ
เสนอขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการ
- บันทึกข้อความ : การเสนอขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการ
- แบบคำขอรับการพิจารณากำหนดตำแหน่งทางวิชาการ
- ข้อบังคับวิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก ว่าด้วย หลักเกณฑ์ และวิธีการพิจารณาแต่งตั้งคณาจารย์ให้ดำรงตำแหน่งทางวิชาการพ.ศ. 2561
- ประกาศวิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอกที่ 069/2563 เรื่องแนวปฏิบัติที่เกี่ยวข้องกับการขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการ
หลักสูตร
- แบบ รายงานข้อมูลการพิจารณารายละเอียดของหลักสูตร ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ระดับปริญญาตรี
- แบบ มคอ.2 รายละเอียดของหลักสูตร
- แบบฟอร์มปรับปรุงหลักสูตร (สมอ.08)
- แบบ มคอ.3 รายละเอียดของรายวิชา
- แบบ มคอ.4 รายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม
- แบบ มคอ.5 รายงานผลการดำเนินการของรายวิชา
- แบบ มคอ.6 รายงานผลการดำเนินการของประสบการณ์ภาคสนาม
การบริหารความเสี่ยง
แบบฟอร์มต่างๆ
ขั้นตอนการพัฒนาหลักสูตรหรือปรับปรุงหลักสูตร
กรอบและแนวทางการจัดทำหลักสูตรของ สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษากระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2558 ได้กำหนดให้มีการปรับปรุงหลักสูตรทุก 5 ปี โดยขั้นตอนการพัฒนาหลักสูตรใหม่ และการปรับปรุงหลักสูตร มีขั้นตอนและรายละเอียดดังนี้
แผนการพัฒนาหรือปรับปรุงหลักสูตร
การพัฒนาหรือปรับปรุงหลักสูตรต้องเป็นไปตามแผนการพัฒนาหรือปรับปรุงหลักสูตรซึ่งบรรจุในแผนพัฒนาวิทยาลัย หากหลักสูตรใดที่ต้องการพัฒนาขึ้นมาใหม่แต่ยังไม่มีการบรรจุไว้ในแผนของวิทยาลัย คณะต้องนำเสนอต่อวิทยาลัย เพื่อบรรจุไว้ในแผนของวิทยาลัย
แต่งตั้งคณะกรรมการพัฒนาหรือปรับปรุงหลักสูตร
คณะต้องเสนอวิทยาลัยในการแต่งตั้งคณะกรรมการขึ้นมา 1 ชุด เรียกว่าคณะกรรมการพัฒนา/ปรับปรุงหลักสูตรตามมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา ซึ่งประกอบด้วยอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรอย่างน้อย2 คน ผู้ทรงคุณวุฒิหรือผู้เชี่ยวชาญในสาขาวิชานั้นๆ และเป็นบุคคลภายนอกอย่างน้อย 2 คน ผู้ใช้บัณฑิต 1 คน หากหลักสูตรใดมีองค์กรวิชาชีพให้มีผู้แทนจากองค์กรวิชาชีพรวมเป็นกรรมการอย่างน้อย 1 คนเพื่อดำเนินการพัฒนาหลักสูตร รูปแบบของการทำคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการพัฒนา/ปรับปรุง หลักสูตร แสดงในตัวอย่างคำสั่งคำแต่งตั้งเอกสารหมายเลข 1 – 3
การเขียนโครงการพัฒนาหรือปรับปรุงหลักสูตร
คณะกรรมการพัฒนา ปรับปรุงหลักสูตร ต้องจัดทำโครงการเพื่อขออนุมัติงบประมาณในการจัดทำหลักสูตรจากวิทยาลัย รายละเอียดในการจัดทำโครงการ เป็นไปตามแบบฟอร์มเสนอโครงการของวิทยาลัย หลักเกณฑ์การเบิกจ่ายการพัฒนาหรือปรับปรุงหลักสูตรตามการเบิกจ่ายงบประมาณของวิทยาลัย
การสำรวจคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์ และความต้องการเข้าศึกษาในหลักสูตร
การพัฒนาหรือปรับปรุงหลักสูตรคณะกรรมการพัฒนา/ปรับปรุงหลักสูตร จำเป็นต้องศึกษาคุณลักษณะของบัณฑิตที่พึงประสงค์ของหลักสูตร โดยการทำวิจัยเชิงสำรวจ หรือสอบถามความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิต โดยมีหัวข้อในการศึกษาสอดคล้องกับมาตรฐานผลการเรียนรู้ 5 ด้าน ดังนี้
- ด้านคุณธรรม จริยธรรม
- ด้านความรู้
- ด้านทักษะทางปัญญา
- ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
- ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และเทคโนโลยีสารสนเทศ
นอกจากนี้ควรศึกษาถึงความต้องการเข้าศึกษาต่อในหลักสูตรของผู้มีคุณสมบัติเข้าศึกษาที่หลักสูตรกำหนด ซึ่งจำเป็นอย่างยิ่งสำหรับหลักสูตรที่พัฒนาขึ้นใหม่การพิจารณาขนาดของกลุ่มตัวอย่าง หรือตอบแบบสอบถามในการทำวิจัย ควรพิจารณาทรัพยากรด้านต่างๆ เช่น งบประมาณ เวลา และควรมีระดับความเชื่อมั่นที่เชื่อถือได้
การทำแผนบริหารความเสี่ยง
คณะกรรมการพัฒนา/ปรับปรุงหลักสูตร จัดทำแผนบริหารความเสี่ยงเพื่อจะศึกษาผลกระทบที่จะเกิดขึ้นในอนาคต เพื่อเตรียมการวางแผนป้องกันความสูญเสียที่จะเกิดขึ้น เช่น จำนวนนักศึกษาไม่เป็นไปตามแผนการรับเข้าศึกษาในแต่ละปีการศึกษา ไม่เป็นที่ต้องการตลาดของแรงงานเป็นต้น
การวิพากษ์หลักสูตร
คณะกรรมการพัฒนา/ปรับปรุงหลักสูตร จัดให้มีการวิพากษ์หลักสูตรอย่างน้อย 2 ครั้งสำหรับหลักสูตรพัฒนาขึ้นใหม่ หรือ อย่างน้อย 1 ครั้ง สำหรับหลักสูตรปรับปรุง โดยควรมีผู้เข้าร่วมวิพากษ์ดังนี้
- คณะกรรมการพัฒนา/ปรับปรุงหลักสูตร
- ผู้เชี่ยวชาญหรือผู้ทรงคุณวุฒิทั้งภายในและภายนอกวิทยาลัย
- ผู้ใช้บัณฑิต
- นักศึกษาปัจจุบัน และ/หรือศิษย์เก่าของหลักสูตร
คณะกรรมการพัฒนา/ปรับปรุงหลักสูตร ต้องจัดทำรายงานการวิพากษ์หลักสูตร เพื่อใช้ประกอบในการจัดทำ มคอ.2 และใช้ข้อมูลจากการวิพากษ์ไปพิจารณาปรับปรุงหลักสูตรใหม่สมบูรณ์ต่อไป
การนำเสนอหลักสูตรต่อสภาวิชาการและสภาวิทยาลัย
การนำเสนอหลักสูตรเพื่อให้สภาวิชาการและสภาวิทยาลัยอนุมัติ จะดำเนินการได้หลังจากคณะกรรมการพัฒนา/ปรับปรุงหลักสูตร แก้ไข มคอ.2 ตามข้อเสนอแนะของคณะอนุกรรมการกลั่นกรองหลักสูตรเรียบร้อยแล้ว โดยผ่านการตรวจสอบของสำนักวิชาการ
การนำเสนอหลักสูตรต่อสภาวิชาการ และสภาวิทยาลัยใช้เวลาในการนำเสนอประมาณ 5-10 นาที คณะกรรมการพัฒนา/ปรับปรุงหลักสูตร ต้องจัดทำไฟล์นำเสนอ และส่งให้ผู้จัดการประชุมสภา (สภาวิชาการติดต่อสำนักวิชาการ สภาวิทยาลัยติดต่อสำนักงานสภาวิทยาลัย) ก่อนประชุม อย่างน้อย 2 สัปดาห์ มีรายละเอียดในการนำเสนอดังนี้
- ชื่อหลักสูตร ชื่อปริญญาและสาขาวิชา
- รายนามผู้ทรงคุณวุฒิที่ร่วมวิพากษ์หลักสูตร
- ปรัชญา และวัตถุประสงค์ของหลักสูตร
- วิเคราะห์ความสอดคล้องระหว่างวัตถุประสงค์ของหลักสูตรและมาตรฐานผลการเรียนรู้ 5 ด้าน
- โครงสร้างหลักสูตร
- รายงานผลการวิจัย/ผลการสำรวจความต้องการของผู้ใช้บัณฑิตที่มีต่อสาขาวิชา
- กรณีที่เป็นหลักสูตรปรับปรุงให้นำเสนอข้อเปรียบเทียบระหว่างหลักสูตรเดิม และหลักสูตรปรับปรุง
ส่วนงานประกันคุณภาพ
นโยบายการประกันคุณภาพการศึกษาภายในวิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก
วิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก ได้ตระหนักถึงความสำคัญและความจำเป็นของการประกันคุณภาพการศึกษา ตามสาระสำคัญที่ระบุในพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 ประกอบกับพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2546 และกฏกระทรวงว่าด้วยระบบหลักเกณฑ์และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา ระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2546 และ พ.ศ. 2553 โดยวิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอกมุ่งมั่นที่จะพัฒนาคุณภาพการศึกษาระดับอุดมศึกษาอย่างยั่งยืน อันแสดงถึงปณิธานและความรับผิดชอบต่อสังคมและประเทศชาติในการดำเนินภารกิจหลักของวิทยาลัย คือ การผลิตบัณฑิต การวิจัย การให้บริการทางวิชาการแก่ชุมชน และการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม ทั้งนี้เพื่อให้การดำเนินการด้านการประกันคุณภาพเป็นไปอย่างสอดคล้องในทิศทางเดียวกัน จึงได้กำหนดนโยบายด้านประกันคุณภาพของวิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก ดังนี้
1) มีแผนและนโยบายที่จะพัฒนาคุณภาพการศึกษาทั้งในระดับปริญญาตรี และปริญญาโท เพื่อให้เป็นที่ยอมรับทั้งในระดับชาติและระดับสากล โดยมุ่งสร้างความแข็งแกร่งทางวิชาการ สนับสนุนการศึกษาค้นคว้าวิจัย และพัฒนาระบบบริหารจัดการ
2) มีแผนและนโยบายที่จะให้สถาบัน คณะ สาขาวิชา หน่วยงานภายในวิทยาลัย และนักศึกษา ดำเนินการการมีส่วนร่วมในการดำเนินการประกันคุณภาพให้เป็นไปตามมาตรฐานของสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา และมาตรฐานสากล โดยมุ่งให้ทุกหน่วยงาน รวมทั้งการมีส่วนร่วมของนักศึกษาพัฒนาระบบกลไกการประกันคุณภาพให้เหมาะสมตามเกณฑ์ เงื่อนไง ความพร้อม และความจำเป็นอื่นๆ
3) มีแผนและนโยบายให่หน่วยงานภายนอกที่เกี่ยวข้องได้เข้ามามีส่วนร่วมในกระบวนการประกันคุณภาพการศึกษา รวมทั้งจัดให้มีการทำรายงานการประกันคุณภาพการศึกษาเผยแพร่ต่อสาธารณชน
4) มีแผนและนโยบายในการส่งเสริมให้นักศึกษามีความรู้และทักษะด้านการประกันคุณภาพการศึกษาของสถาบัน โดยให้ความรู้ ส่งเสริมและสนับสนุนให้นักศึกษาจัดทำโครงการด้านวิชาการ บริการวิชาการ บำเพ็ญประโยชน์หรือโครงการกิจกรรมอื่นๆ โดยใช้กระบวนการคุณภาพ เช่น 5 ส. วงจรการประกันคุณภาพ P D C A ไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพกิจกรรมหรือโครงการของนักศึกษา
ประกาศ เมื่อวันที่ 6 มิถุนายน 2552

รายงานการประเมินตนเอง
ปีการศึกษา 2561
ศูนย์ศิลปวัฒนธรรม
สำนักการคลัง
สำนักทรัพยากรมนุษย์
สำนักพัฒนานักศึกษา
สำนักยุทธศาสตร์และติดตามประเมินผล
กลุ่มงานมาตรฐานวิชาการ
กลุ่มงานวิจัยและบริการวิชาการ
ศูนย์บ่มเพาะธุรกิจ
ศูนย์บริการเทคโนโลยีสารสนเทศ
สำนักทะเบียนและประมวลผล
สำนักบริการ
สำนักประชาสัมพันธ์และภาพลักษณ์องค์กร
สำนักหอสมุด
สำนักอธิการบดี
ปีการศึกษา 2560
สำนักประชาสัมพันธ์และการตลาด
สำนักวิชาการ
สำนักหอสมุด
สำนักวิจัยและพัฒนา
สำนักบริการ
สำนักทะเบียนและประมวลผล
สำนักกิจการนักศึกษา
สำนักอธิการบดี
สำนักการคลัง
สำนักประกันคุณภาพการศึกษา
สำนักบริการวิชาการ
ศูนย์ศิลปวัฒนธรรม
ศูนย์บริการเทคโนโลยีสารสนเทศ
ศูนย์ยุทธศาสตร์และติดตามประเมินผล
ศูนย์ประสานงานและส่งเสริมสหกิจศึกษา
ฝ่ายทรัพยากรบุคคล
ศูนย์บ่มเพาะธุรกิจ
ปีการศึกษา 2559
สำนักประชาสัมพันธ์และการตลาด
สำนักวิชาการ
สำนักหอสมุด
สำนักวิจัยและพัฒนา
สำนักบริการ
สำนักทะเบียนและประมวลผล
สำนักกิจการนักศึกษา
สำนักอธิการบดี
สำนักการคลัง
สำนักประกันคุณภาพการศึกษา
สำนักบริการวิชาการ
ศูนย์ศิลปวัฒนธรรม
ศูนย์บริการเทคโนโลยีสารสนเทศ
ศูนย์ยุทธศาสตร์และติดตามประเมินผล
ศูนย์ประสานงานและส่งเสริมสหกิจศึกษา
ฝ่ายทรัพยากรบุคคล
สรุปผลการรายงานการประเมินตนเอง(SAR) ระดับหน่วยงานสนับสนุน
ปีการศึกษา 2561
(รวมเล่ม) สรุปผลตรวจประเมินคุณภาพการศึกษา
ปีการศึกษา 2560
สำนักประชาสัมพันธ์และการตลาด
สำนักวิชาการ
สำนักหอสมุด
สำนักวิจัยและพัฒนา
สำนักบริการ
สำนักทะเบียนและประมวลผล
สำนักกิจการนักศึกษา
สำนักอธิการบดี
สำนักการคลัง
สำนักประกันคุณภาพการศึกษา
สำนักบริการวิชาการ
ศูนย์ศิลปวัฒนธรรม
ศูนย์บริการเทคโนโลยีสารสนเทศ
ศูนย์ยุทธศาสตร์และติดตามประเมินผล
ศูนย์ประสานงานและส่งเสริมสหกิจศึกษา
ฝ่ายทรัพยากรบุคคล
ศูนย์บ่มเพาะธุรกิจ
ปีการศึกษา 2559
สำนักประชาสัมพันธ์และการตลาด
สำนักวิชาการ
สำนักหอสมุด
สำนักวิจัยและพัฒนา
สำนักบริการ
สำนักทะเบียนและประมวลผล
สำนักกิจการนักศึกษา
สำนักอธิการบดี
สำนักการคลัง
สำนักประกันคุณภาพการศึกษา
สำนักบริการวิชาการ
ศูนย์ศิลปวัฒนธรรม
ศูนย์บริการเทคโนโลยีสารสนเทศ
ศูนย์ยุทธศาสตร์และติดตามประเมินผล
ศูนย์ประสานงานและส่งเสริมสหกิจศึกษา
ฝ่ายทรัพยากรบุคคล
รายงานผลการดำเนินงาน(มคอ.7) ระดับหลักสูตร
สาขาวิชาการจัดการ 61
สาขาวิชาการจัดการโรงแรมและท่องเที่ยว 61
สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ 61
สาขาวิชาการตลาด 61
สาขาวิชาการบัญชี 61
สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ 61
สาขาวิชาเทคโนโลยีการจัดการอุตสาหกรรม 61
สาขาวิชาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ 61
สาขาวิชาเทคโนโลยีมัลติมีเดียและแอนิเมชัน 61
สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 61
สาขาวิชานิติศาสตร์ 61
สาขาวิชาภาษาอังกฤษธุรกิจ 61
หลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต 61
หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต 61
ปีการศึกษา 2562
สาขาวิชาการจัดการ 62
สาขาวิชาการจัดการโรงแรมและท่องเที่ยว 62
สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ 62
สาขาวิชาการตลาด 62
สาขาวิชาการบัญชี 62
สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ 62
สาขาวิชาเทคโนโลยีการจัดการอุตสาหกรรม 62
สาขาวิชาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ 62
สาขาวิชาเทคโนโลยีมัลติมีเดียและแอนิเมชัน 62
สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 62
สาขาวิชานิติศาสตร์ 62
สาขาวิชาภาษาอังกฤษธุรกิจ 62
หลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต 62
หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต 62
ปีการศึกษา 2563
สาขาวิชาการจัดการ 63
สาขาวิชาการจัดการโรงแรมและท่องเที่ยว 63
สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ 63
สาขาวิชาการตลาด 63
สาขาวิชาการบัญชี 63
สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ 63
สาขาวิชาเทคโนโลยีการจัดการอุตสาหกรรม 63
สาขาวิชาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ 63
สาขาวิชาเทคโนโลยีมัลติมีเดียและแอนิเมชัน 63
สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 63
สาขาวิชานิติศาสตร์ 63
สาขาวิชาภาษาอังกฤษธุรกิจ 63
หลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต 63
หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต 63
รายงานการประเมินตนเอง(SAR) ระดับคณะ
ปีการศึกษา 2561
คณะนิติศาสตร์ 61
คณะบัญชีและวิทยาการจัดการ61
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 61
คณะโลจิสติกส์และเทคโนโลยีการบิน 61
คณะศิลปศาสตร์ 61
บัณฑิตวิทยาลัย 61
ปีการศึกษา 2562
คณะนิติศาสตร์ 62
คณะบัญชีและวิทยาการจัดการ62
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 62
คณะโลจิสติกส์และเทคโนโลยีการบิน 62
คณะศิลปศาสตร์ 62
ปีการศึกษา 2563
คณะนิติศาสตร์ 63
คณะบัญชีและวิทยาการจัดการ63
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 63
คณะโลจิสติกส์และเทคโนโลยีการบิน 63
คณะศิลปศาสตร์ 63
รายงานการประเมินตนเอง(SAR) ระดับสถาบัน
- วิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก 2552
- วิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก 2553
- วิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก 2554
- วิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก 2555
- วิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก 2556
- วิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก 2557
- วิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก 2558
- วิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก 2559
- วิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก 2560
- วิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก 2561
- วิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก 2562
- วิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก 2563
คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน
- ระดับ หน่วยงานสนับสนุน มหาวิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก
- คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2557 (สกอ.)
- ISCED Fields of Education and Training 2013 (ISCED-F 2013)
- คู่มือวิธีการใช้งานระบบฐานข้อมูลด้านการประกันคุณภาพ(CheQA Online)
รายงานผลการดำเนินงาน ระดับหลักสูตร
- (ฟอร์ม ระดับหลักสูตร) รายงานผลการดำเนินงาน(มคอ.7) ปริญญาตรี
- (ฟอร์ม ระดับหลักสูตร) รายงานผลการดำเนินงาน(มคอ.7) ปริญญาโท
รายงานการประเมินตนเอง ระดับคณะ
- (ฟอร์ม ระดับคณะ) รายงานการประเมินตนเอง(SAR)
รายงานการประเมินตนเอง ระดับสถาบัน
- (ฟอร์ม ระดับสถาบัน) รายงานการประเมินตนเอง(SAR)
- กลุ่มงานมาตรฐานวิชาการ : [ขั้นตอนการขอพิจารณาตำแหน่งทางวิชาการ]
- วีดิทัศน์ เพื่อประกอบการบรรยาย
- Flowchart นำเสนอกระบวนการ
- Brochuce คุณสมบัติของผู้เสนอขอตำแหน่งทางวิชาการ
- เกมส์ Kahoot สร้างความบันเทิงที่แฝงสาระ