ข่าวประกาศ
เกี่ยวกับคณะ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คือ การพัฒนาองค์ความรู้ใหม่หรือนวัตกรรมใหม่ โดยใช้หลักการ เหตุผล และเทคโนโลยี ดังนั้นคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี วิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก จึงมีบทบาทในการผลิตบัณฑิตด้านวิทยาศาสตร์ประยุกต์ และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม ที่มีสมรรถนะสากล มีคุณธรรม จริยธรรม และมีจรรยาบรรณทางวิชาชีพ ผลิตงานวิจัยด้านวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม เพื่อตอบสนองต่อความต้องการของชุมชน สังคม และประเทศชาติ
การให้บริการวิชาการที่ตอบสนองต่อความต้องการของชุมชน และพัฒนาองค์กร เพื่อเป็นองค์กรธรรมภิบาล และองค์กรแห่งการเรียนรู้
ด้วยความพร้อมในด้านบุคลากรที่มีประสบการณ์ทั้งด้านวิชาการและวิชาชีพ ผลงานวิชาการ งานวิจัย และห้องปฏิบัติการทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่ทันสมัยและที่มีบทบาทที่สำคัญที่สุดของเราคือ การเป็นแหล่งผลิตนักวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีรุ่นใหม่ที่เต็มเปี่ยมไปด้วยคุณภาพ และศักยภาพในการทำงาน ออกมารองรับความต้องการของตลาดแรงงานอย่างต่อเนื่อง
การจัดการความรู้ (KM)
สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ
ชื่อปริญญา
ชื่อเต็มภาษาไทย : วิทยาศาสตรบัณฑิต (เทคโนโลยีสารสนเทศ)
ชื่อย่อภาษาไทย : วท.บ. (เทคโนโลยีสารสนเทศ)
โครงสร้างหลักสูตร
จำนวนหน่วยกิตตลอดหลักสูตร 120 หน่วยกิต
หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 30 หน่วยกิต
หมวดวิชาเฉพาะ 84 หน่วยกิต
กลุ่มวิชาแกน 9 หน่วยกิต
กลุ่มวิชาเอก 75 หน่วยกิต
- กลุ่มวิชาเอกบังคับ 45 หน่วยกิต
- กลุ่มวิชาเอกเลือก 30 หน่วยกิต
หมวดวิชาเลือกเสรี 6 หน่วยกิต
คำอธิบาย
สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศเป็นหลักสูตรที่มุ่งเน้นผลิตบัณฑิตให้มีสมรรถนะด้านการพัฒนาซอฟต์แวร์ระบบ และบริหารจัดการโครงสร้างพื้นฐานเครือข่ายขององค์กร เครือข่ายสื่อสารไร้สาย (Wireless Network) โดยสร้างเครือข่ายความร่วมมือกับองค์กรชั้นนำ เช่น Cisco, MikroTik, Oracle, Huawei จึงทำให้หลักสูตรมีความทันสมัยสอดรับกับความต้องการของตลาดแรงงาน และทิศทางในการพัฒนา
หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิตสาขาวิชามัลติมีเดียและอีสปอร์ต
ชื่อปริญญา
ชื่อเต็มภาษาไทย : วิทยาศาสตรบัณฑิต (มัลติมีเดียและอีสปอร์ต)
ชื่อย่อภาษาไทย : วท.บ. (มัลติมีเดียและอีสปอร์ต)
โครงสร้างหลักสูตร
จำนวนหน่วยกิตตลอดหลักสูตร 120 หน่วยกิต
หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 30 หน่วยกิต
หมวดวิชาเฉพาะ 84 หน่วยกิต
- กลุ่มวิชาแกน 12 หน่วยกิต
- กลุ่มวิชาเอกบังคับ 54 หน่วยกิต
- กลุ่มวิชาเอกเลือก 18 หน่วยกิต
หมวดวิชาเลือกเสรี 6 หน่วยกิต
คำอธิบาย
หลักสูตรมัลติมีเดียและอีสปอร์ตเป็นหลักสูตรที่มุ่งเน้นการผลิตบัณฑิตให้มีสมรรถนะด้านความคิดสร้างสรรค์ เรียนรู้การออกแบบและผลิตสื่ออินเทอร์แอคทีฟ การออกแบบและพัฒนาเกมคอมพิวเตอร์ มีทักษะความเชี่ยวชาญเกี่ยวกับกีฬาอีสปอร์ต รวมถึงหลักการบริหารจัดการเกี่ยวกับธุรกิจมัลติมีเดียและอีสปอร์ต ฝึกปฏิบัติกับสถานการณ์จริง และครอบคลุมสายงานในกลุ่มอุตสาหกรรมดิจิทัลคอนเทนต์ (Digital Content)
หลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีธุรกิจดิจิทัล
ชื่อปริญญา
ชื่อเต็มภาษาไทย : เทคโนโลยีบัณฑิต (เทคโนโลยีธุรกิจดิจิทัล)
ชื่อย่อภาษาไทย : ทล.บ. (เทคโนโลยีธุรกิจดิจิทัล)
จำนวนหน่วยกิตตลอดหลักสูตร 120 หน่วยกิต
หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 30 หน่วยกิต
หมวดวิชาเฉพาะ 84 หน่วยกิต
- กลุ่มวิชาแกน 30 หน่วยกิต
- กลุ่มวิชาเอกบังคับ 42 หน่วยกิต
- กลุ่มวิชาเอกเลือก 12 หน่วยกิต
หมวดวิชาเลือกเสรี 6 หน่วยกิต
คำอธิบาย
หลักสูตรมุ่งเน้นผลิตบัณฑิตให้มีสมรรถนะที่ผสมผสานระหว่างวิทยาการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศกับหลักบริหารธุรกิจ เป็นทั้งผู้ที่ประยุกต์ใช้เครื่องมือทางเทคโนโลยีดิจิทัลเชิงลึกในการวิเคราะห์และแก้ปัญหาทางธุรกิจเพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อองค์กร สามารถวิเคราะห์ข้อมูลขนาดใหญ่ทางธุรกิจ สามารถเรียนรู้และพัฒนาระบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ระบบธุรกิจอัจฉริยะ และสามารถออกแบบและพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์สำหรับสนับสนุนงานธุรกิจ
หลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และนวัตกรรม (ต่อเนื่อง)
ชื่อปริญญา
ชื่อเต็มภาษาไทย : เทคโนโลยีบัณฑิต (เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และนวัตกรรม)
ชื่อย่อภาษาไทย : ทล.บ. (เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และนวัตกรรม)
โครงสร้างหลักสูตร
จำนวนหน่วยกิตตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่า 78 หน่วยกิต
หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 18 หน่วยกิต
หมวดวิชาเฉพาะ 54 หน่วยกิต
- กลุ่มวิชาแกน 9 หน่วยกิต
- กลุ่มวิชาเอกบังคับ 30 หน่วยกิต
- กลุ่มวิชาเอกเลือก 15 หน่วยกิต
หมวดวิชาเลือกเสรี 6 หน่วยกิต
คำอธิบาย
เป็นหลักสูตรที่มุ่งเน้นการผลิตบัณฑิตให้มีสมรรถนะด้านฮาร์ดแวร์และระบบควบคุมอัจฉริยะ(Hardware and Intelligent Control System)การประยุกต์ใช้ซอฟต์แวร์สมองกลฝังตัว (Embedded Software) สามารถสร้างสรรค์นวัตกรรมด้านเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เพื่อตอบโจทย์ภาคธุรกิจ ภาคอุตสาหกรรม และภาคการเกษตร นำไปสู่การเป็นผู้ประกอบการ/นักวิชาการ ที่สามารถสร้างสรรค์นวัตกรรมเพื่อเพิ่มรายได้และเพิ่มขีดความสามารถในการพัฒนาประเทศ
หลักสูตรอุตสาหกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีวิศวกรรมอุตสาหการ (ต่อเนื่อง)
ชื่อปริญญา
ชื่อเต็มภาษาไทย : อุตสาหกรรมศาสตรบัณฑิต (เทคโนโลยีวิศวกรรมอุตสาหการ)
ชื่อย่อภาษาไทย : อส.บ. (เทคโนโลยีวิศวกรรมอุตสาหการ)
โครงสร้างหลักสูตร
จำนวนหน่วยกิตตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่า 78 หน่วยกิต
หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 18 หน่วยกิต
หมวดวิชาเฉพาะ 54 หน่วยกิต
- กลุ่มวิชาแกน 9 หน่วยกิต
- กลุ่มวิชาเอกบังคับ 30 หน่วยกิต
- กลุ่มวิชาเอกเลือก 15 หน่วยกิต
หมวดวิชาเลือกเสรี 6 หน่วยกิต
คำอธิบาย
เป็นหลักสูตรที่มุ่งผลิตบัณฑิตให้มีสมรรถะในการคิดวิเคราะห์ เพื่อปรับปรุงงาน (Improvement) พัฒนางาน (Development) รวมทั้งแก้ไขปัญหา (Solution) ในงานอุตสาหกรรมได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีทักษะการเป็นผู้นำ สามารถประยุกต์ใช้เครื่องมือด้านเทคโนโลยีวิศวกรรม อุตสาหการเพื่อยกระดับขีดความสามารถของผู้เรียนให้เป็นที่ต้องการของตลาดแรงงานในภาคอุตสาหกรรม
บทความงานวิจัย
- ระบบงานบริการอู่ซ่อมรถยนต์ออนไลน์ กรณีศึกษาอู่ซ่อมรถฉัตรวิไลเซอร์วิส
- การพัฒนาเว็บแอปพลิเคชันสำหรับบริหารจัดการไมโครติกส์ไฟร์วอลล์
- การประยุกต์ใช้รูปแบบไบนารีท้องถิ่นด้วยไฮเปอร์โบลิกเซกแคนท์สำหรับการตรวจจับขอบและค้นคืนรูปภาพ
- สภาพและความต้องการระบบสารสนเทศสำหรับการให้คำปรึกษาแก่นักศึกษาระดับปริญญาตรีของสถาบัน อุดมศึกษาเอกชนในประเทศไทย
- ระบบการวิเคราะห์ข้อสอบออนไลน์ด้วยทฤษฎีการตอบสนองข้อสอบแบบอัตโนมัติ
- การพัฒนาหลักสูตรออนไลน์สำหรับการอบรมผู้ประเมินภายนอกในการประเมินคุณภาพแบบการตัดสินโดยผู้เชี่ยวชาญ
- การพัฒนารูปแบบโลกเสมือนผสานโลกจริงเพื่อช่วยรณรงค์ลดการใช้บรรจุภัณฑ์พลาสติกแบบใช้ครั้งเดียว ในสถาบันการศึกษาเอกชน
- Designing a Mobile Application Platform for Customers to Receive Information Service from Car Service Center
- Designs of Graphics User Interface for SBC Exit-Exam System
- The Prototype of Electronics Portfolio (E-Portfolio) Application on Mobile Phone
- การพัฒนาหลักสูตรออนไลน์สำหรับการอบรมผู้ประเมินภายนอกในการประเมินคุณภาพแบบการตัดสินโดยผู้เชี่ยวชาญ
- การพัฒนารูปแบบโลกเสมือนผสานโลกจริงเพื่อช่วยรณรงค์ลดการใช้บรรจุภัณฑ์พลาสติกแบบใช้ครั้งเดียว ในสถาบันการศึกษาเอกชน
- ความสัมพันธ์ของคุณภาพสารสนเทศทางบัญชีกับประสิทธิภาพในการควบคุมต้นทุนอาหารและเครื่องดื่มของโรงแรมในกรุงเทพมหานคร
- Design of Ontology the Automatic Electronic Advisor Systems for Private Higher Education Institutions in Thailand
- สภาพและความต้องการระบบสารสนเทศสำหรับการให้คำปรึกษาแก่นักศึกษาระดับปริญญาตรีของสถาบันอุดมศึกษาเอกชนในประเทศไทย
- รูปแบบอาจารย์ที่ปรึกษาอิเล็กทรอนิกส์สำหรับสถาบันอุดมศึกษาเอกชนไทย โดยใช้แบบจำลองเดียร์
- ระบบลงทะเบียนใบหน้าและตรวจสอบนักศึกษาเข้าห้องเรียน ด้วยหลักการประมวลผลภาพร่วมกับเทคนิคการรู้จำใบหน้า
- ระบบแสดงอาการของผู้ติดเชื้อไวรัสโคโรนา-19 ด้วยการเคลื่อนไหวนิ้วมือ
- การพัฒนาเทคนิคค้นหาพื้นที่ใบหน้าและวัตถุบริเวณดวงตาโดยใช้หลักการประมวลผลภาพ
- The Structural Equation Model of Actual Use of Cloud Learning for Higher Education Students in the 21st Century
- Design and Implementation of Chua’s Controller for Industrial Mixers
- Applicarion of Logarithm
- การออกแบบรูปแบบการจัดการการศึกษาแบบบูรณาการการเรียนกับการทำงานโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศของสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทย
- New Ceossover Network Based on q-Bernstein Polynomial
- การใช้สมาร์ทโฟนเพื่อการควบคุมยานภาคพื้นดินไร้คนขับ
- การปรับปรุงกระบวนการผลิตของแผ่นหม้อไอน้ำโดยหลักการ ECRS
- การพัฒนาสื่อการ์ตูนแอนิเมชัน 2 มิติเพิ้อถ่ายทอดวิธีเพาะเลี้ยงปลาสลิดในจ.สมุทรปราการ
- การรับรู้และความตระหนักเกี่ยวกับจริยธรรมในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศของน.ศ.ป.ตรีคณะวิทย์ฯ
- การศึกษาพฤติกรรมการใช้งานอินเทอร์เน็ตความเร็วสูง เทคโนโลยี4GLTEในเขต กทม.
- ระบบคำนวณค่าน้ำประปาแบบดิจิทัล
- ระบบจัดการงานซ่อมบำรุงฝ่ายระบบคอมฯและเครือข่าย
- ระบบแจ้งเตือนความไม่พร้อมใช้งานแอคเซสพอยต์
- ระบบแจ้งเตือนและค้นหารถจักรยานยนต์เมื่อถูกโจรกรรม
- อุปกรณ์เก็บมะม่วงด้วยวิธีตรวจสอบสีผิวด้วยเทคโนโลยีประมวลผล
- ระบบผลิตกระแสไฟฟ้าจากพลังงานน้ำด้วยไมโครกริดผ่านเทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่ง
- การพัฒนาระบบจองคิวบริการล้างและติดตั้งเครื่องปรับอากาศ
- การออกแบบและพัฒนาระบบจองคอร์สเรียนทำขนมกับผู้สอนอิสระบนอินเทอร์เน็ตด้วยวิธีเชิงโครงสร้าง
- Controlling Unmanned Ground Vehicle by Smart Phone
- Systems Analysis to Design Information System for Cooperative Education Process Management on Cloud Computing Environments for Thai Higher Education Institutions
- Image Inspection System for Electronic Circuit Board Assembly Using Image Processing
- Hazardous Gas Sensor in Fumigation Chamber for Orchid Export Industry
- Design and Assessmentof System Architecture in AutomaticSystemTransformation of E-Portfolio to E-Assessment through TOGAF and AHP
- การบูรณาการบล็อกเชนกับการประมวลผลแบบคลาวด์ในแฟ้มสะสมงานอิเล็กทรอนิกส์
- การประยุกต์ใช้รูปแบบไบนารีท้องถิ่นด้วยไฮเปอร์โบลิกเซกแคนท์สำหรับการตรวจจับขอบและค้นคืนรูปภาพ
- สภาพและความต้องการระบบสารสนเทศส าหรับการให้ค าปรึกษาแก่นักศึกษาระดับปริญญาตรีของสถาบันอุดมศึกษาเอกชนในประเทศไทย
- รูปแบบอาจารย์ที่ปรึกษาอิเล็กทรอนิกส์สำหรับสถาบันอุดมศึกษาเอกชนไทย โดยใช้แบบจำลองเดีย
- Systematic approach for electronic advisor based on the advisor’s views
- ความสัมพันธ์ของคุณภาพสารสนเทศทางบัญชีกับประสิทธฺภาพในการควบคุมต้นทุนอาหารและเครื่องอื่ม ของโรงแรมในกรุงเทพมหานคร
- ตัวชี้วัดคุณธรรมจริยธรรมของบัณฑิต
- ระบบงานบริการอู่ซ่อมรถยนต์ออนไลน์กรณีศึกษาอู่ซ่อมรถฉัตรวิไลเซอร์วิส
- รูปแบบเทคโนโลยีการประมวลผลแบบคลาวด์เพื่อการประเมินในแฟ้มสะสมงานอิเล็กทรอนิกส์
- ระบบการวิเคราะห์ข้อสอบออนไลน์ด้วยทฤษฎีการตอบสอนงข้อสอบแบบอัตโนมัติ
- การพัฒนาสื่อวิดีโออินโฟกราฟิกการจัดการความรู้ เรื่องเขียนโครงร่างงานวิจัยอย่างไรให้ได้ทุน
- การออกแบบและพัฒนาสื่อแอนิเมชัน 3 มิติ เพื่อส่งเสริมจิตสำนึกการอนุรักษณ์ช้างไทย